วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

11.3 กรอบแนวคิดอย่างง่ายในการจัดการความรู้

0 comments
 
กรอบแนวคิดอย่างง่ายในการจัดการความรู้ ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายก็คือ แผนผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) หรือ แผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa diagram) ซึ่งแผนผังก้างปลาเป็นแผนผังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา (Problem) กับสาเหตุทั้งหมดที่เป็นไปได้ที่อาจก่อให้เกิดปัญหานั้น (Possible Cause)จีงมีผู้เรียกแผนผังกางปลานี้ว่า แผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมแห่งญี่ปุ่น (JIS)...
Readmore...
วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2555

11.2 กรอบความคิดการจัดการความรู้ (KM framework)

0 comments
 
ในสังคมแห่งความรู้ (Knowledge Society) “ความรู้” ถือว่าเป็นทรัพยากรหลักที่มีค่ายิ่งซึ่งแตกต่างจากปัจจัยการผลิตอื่นๆ เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงและสร้างขึ้นใหม่ได้ตลอดเวลา สภาวะดังกล่าวก่อให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมเศรษฐกิจที่อาศัยฐานแห่งความรู้ (Knowledge-Base Economy) ความรู้ได้กลายมาเป็นแรงขับเคลื่อนที่สาคัญ ด้วยเหตุนี้ แนวความคิดและหลักการจัดการความรู้จึงมีบทบาทสาคัญยิ่งต่อองค์การในทุกระดับ กรอบความคิดการจัดการความรู้...
Readmore...

11.1 การจัดกระบวนการเรียนรู้

0 comments
 
ปัจจุบันโลกได้เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-based Economy – KBE) งานต่างๆ จำเป็นต้องใช้ความรู้มาสร้างผลผลิตให้เกิดมูลค่าเพิ่มมากยิ่งขึ้น การจัดการความรู้เป็นคำกว้างๆ ที่มีความหมายครอบคลุมถึง เทคนิค กลไกต่างๆ มากมาย เพื่อสนับสนุนให้การทำงานในองค์กร มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในการรวบรวมความรู้ที่กระจัดกระจายอยู่ที่ต่างๆ มารวมไว้ที่เดียวกัน ซึ่งช่องทางบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนับเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สามารถตอบสนองในการเป็นเวที...
Readmore...

10.8 ลักษณะเฉพาะของเครือข่ายความรู้(การเรียนรู้)

0 comments
 
ลักษณะเฉพาะของเครือข่ายความรู้(การเรียนรู้)   • การประสานแหล่งความรู้ต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อรับและส่งหรือถ่ายทอดความรู้ประเภทต่างๆ ไปยังประชาชนอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา • การจัด และเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้ให้เป็นระบบ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางและต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ เพื่อขยายบริการการศึกษา แลกเปลี่ยนและกระจายความรู้ ข้อมูลข่าวสารไปสู่วงกว้างได้รวดเร็ว •...
Readmore...

10.7 ความหมายของเครือข่ายความรู้(การเรียนรู้)

1 comments
 
ความหมายของเครือข่ายความรู้(การเรียนรู้)  มีผู้ให้ความหมายของเครือข่ายการเรียนรู้ ไว้หลากหลาย อาทิ เครือข่ายการเรียนรู้ คือ การที่ชาวบ้านรวมตัวกัน ขบคิดปัญหาของเขา รวมพลังแก้ปัญหา และหาผู้นำขึ้นมาจากหมู่ชาวบ้านด้วยกันเอง แล้วรวมตัวกันเพื่อมีอำนาจต่อรอง มีการต่อสู้ทางความคิด มีการเรียนรู้จากภายนอก มีการไปมาหาสู่กันเรียนรู้ดูงานด้วยกัน จนกระทั่งเกิดเป็นกระบวนการแก้ปัญหาได้ การทำมาหากินดีขึ้น...
Readmore...

10.6 การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนา และใช้แหล่งการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษา

0 comments
 
การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนา และใช้แหล่งการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษา การพัฒนาแหล่งเรียนรู้   เป็นงานที่สถานศึกษาส่วนใหญ่ดำเนินการอยู่แล้ว  ภาพความสำเร็จที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียนก็คือ  การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้  สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง  จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ซึ่งมีหลายช่องทาง   เพียงแต่การดำเนินการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ ยังเป็นไปโดยไม่เป็นระบบ และกระบวนการที่ชัดเจน  ...
Readmore...

10.5 ประเภทของแหล่งเรียนรู้สำหรับสถานศึกษา

0 comments
 
ประเภทของแหล่งเรียนรู้สำหรับสถานศึกษา   แหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนมี 2 ประเภท คือ แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน1.1 แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ เช่น บรรยากาศ สิ่งแวดล้อม ปรากฏการณ์ธรรมชาติ สิ่งมีชีวิต ฯลฯ1.2 แหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดกลุ่มสาระ...
Readmore...

10.4 องค์กรแห่งการเรียนรู้ : ความหมาย

0 comments
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) : ความหมาย องค์การเรียนรู้ (Learning Organization) เป็นแนวคิดในการพัฒนาองค์การโดยเน้นการพัฒนาการเรียนรู้สภาวะของการเป็นผู้นำในองค์การ (Leadership) และการเรียนรู้ร่วมกัน ของคนในองค์การ (Team Learning) เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์ และทักษะร่วมกัน และพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่องทันต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขัน การมีองค์การแห่งการเรียนรู้นี้จะทำให้องค์การและบุคลากร...
Readmore...

10.3 องค์ประกอบของการเรียนรู้

0 comments
 
  ในส่วนขององค์ประกอบของการเรียนรู้ ที่ทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้นั้น ประกอบด้วย สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้บุคคลมีปฏิกิริยาโต้ตอบออกมาและเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมว่าจะแสดงออกมาในลักษณะใด สิ่งเร้าอาจเป็นเหตุการณ์หรือวัตถุและอาจเกิดภายในหรือภายนอกร่างกายก็ได้ เช่น เสียงนาฬิกาที่ปลุกให้เราตื่น หรือกำหนดวันสอบเร้าให้เราเตรียมสอบ หรือครูผู้สอนกำหนดหัวเรื่องให้เราต้องค้นคว้าในการทำรายงาน แรงขับ...
Readmore...
วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2555

10.2 ความหมายของการเรียนรู้

0 comments
 
การเรียนรู้ มีความหมายลึกซึ้งมากกว่าการสั่งสอน หรือการบอกเล่าให้เข้าใจและจำได้เท่านั้น ไม่ใช่เรื่องของการทำตามแบบ ไม่ได้มีความหมายต่อการเรียนในวิชาต่างๆเท่านั้น แต่ความหมายคลุมไปถึง การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมอันเป็นผลจากการสังเกตพิจารณา ไตร่ตรอง แก้ปัญหาทั้งปวงและไม่ชี้ชัดว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นไปในทางที่สังคมยอมรับเท่านั้น ความหมายของการเรียนรู้ การเรียนรู้ เป็นการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม...
Readmore...

10.1 แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Ecology)

0 comments
 
การเรียนรู้(Learning Ecology) การเรียนรู้ คือ กระบวนการที่ทำให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางความคิด มนุษย์เราสามารถเรียนรู้ได้จาก การได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การเห็น รวมถึงผ่านการใช้ สื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือ เป็นส่วนส่งผ่าน ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory) หมายถึงข้อความรู้ที่พรรณา / อธิบาย / ทำนาย ปรากฏการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับการเรียนรู้ ซึ่งได้รับการพิสูจน์ ทดสอบตามกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ และได้รับการยอมรับว่าเชื่อถือได้...
Readmore...
วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2555

9.3 แนวทางการออกแบบสื่อภาพเคลื่อนไหว

0 comments
 
ลักษณะและรูปแบบของสื่อภาพเคลื่อนไหว สื่อภาพเคลื่อนไหว (animation) หมายถึง สื่อที่สร้างจากภาพนิ่งหลายๆภาพต่อเนื่องกัน แล้วแสดงผลตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ หรือจากการใช้เทคนิคทางโปรแกรมเพื่อกำหนดให้องค์ประกอบในฉากเคลื่อนที่ไปตามจุดหรือตำแหน่งที่ต้องการ ลักษณะของสื่อภาพเคลื่อนไหว ที่มีอยู่ในโลกของไฟล์บนระบบคอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ลักษณะ GIF animation Flash animation Script Interactive animation  ลักษณะและรูปแบบของสื่อภาพเคลื่อนไหว...
Readmore...

9.7 แนวทางการพัฒนาสื่อประเภทมัลติมีเดีย

0 comments
 
หากพูดถึงเรื่องสื่อมัลติมีเดีย ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า มัลติมีเดีย ของการใช้งานมีหลายความหมาย ในวงการศึกษา อาจหมายถึงการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยสื่อที่หลากหลายประเภท หรืออาจจะหมายถึงการสร้างเนื้อหา สาระหลักสูตรเดียวกันแต่มีวิธีการเรียนรู้บนสื่อที่แตกต่างกัน แต่หากมาดูความหมายทางสากล ก็จะหมายถึง สื่อที่มีองค์ประกอบของสื่ออื่นๆนำเข้ามาร่วมกันมากกว่า 2 ประเภทขึ้นไป ซึ่งสื่อที่มักจะใช้เป็นส่วนประกอบของมัลติมีเดีย...
Readmore...

9.8 แนวทาง(หลัก)การพัฒนาสื่อเอกสารเว็บและบทเรียนออนไลน์

0 comments
 
แนวทาง(หลัก)การพัฒนาสื่อเอกสารเว็บและบทเรียนออนไลน์ โครงสร้างเว็บไซท์ (Site Structure) เป็นแผนผังของการลำดับเนื้อหาหรือการจัดวางตำแหน่งเว็บเพจทั้งหมด ซึ่งจะทำให้เรารู้ว่าเว็บไซท์ประกอบไปด้วยเนื้อหาอะไรบ้าง และมีเว็บเพจหน้าไหนที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้นการออกแบบโครงสร้างเว็บไซท์จึงเป็นเรื่องสำคัญ เปรียบเสมือนการเขียนแบบอาคารต่างๆ ก่อนที่จะลงมือสร้าง เพราะจะทำให้เราสามารถมองเห็นหน้าตาเว็บไซท์เป็นรูปธรรมมากขึ้น...
Readmore...

test

สาระ เนื้อหา เรื่องราว ที่ปรากฎอยู่ในบล็อกแห่งนี้ จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมผลงาน แนวคิด จากการศึกษาเรียนรู้ และประสบการณ์ในการทำงาน รวมถึงการนำมาจากแหล่งข้อมูลอื่น(ซึ่งจะแจ้ง links ต้นทาง) นำมาเผยแพร่ให้กับท่านที่สนใจ ผ่านช่องทางและเวทีบล็อกแห่งนี้ หากท่านต้องการที่จะแนะนำ หรือแสดงความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ในการจัดทำบล็อกความรู้นี้ ติดต่อพูดคุย(ฝากข้อความ) ได้นะครับ
ขอบคุณที่กรุณาเข้าเยี่ยมชม
mediathailand